|
|
|
"อ่างทอง" เป็นชุมชนเก่าแก่ ไม่ปรากฏในหลักฐานแน่ชัดว่าเกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ใด ชาวบ้านสร้างบ้านเรือนอยู่ริมแม่น้ำปิง การคมนาคมใช้การเดินเท้าและเกวียน ปีหนึ่งช่วงหน้าแล้งมีเกวียนเล่มหนึ่งเหยียบขอบอ่างใหญ่มากขนาด 3 วา แตก ชาวบ้านได้ช่วยกันยกแต่ยกอย่างไรก็ยกไม่ขึ้น จึงนำดอกไม้ธูปเทียนมาจุดเพื่ออันเชิญก็ไม่ขึ้น ความได้ล่วงรู้ถึงท่านเจ้าเมืองชาวกังราว จึงทำพิธีอันเชิญอ่าง แต่ก็ไม่ยอมขึ้น จึงปล่อยอ่างไว้ และตั้งชื่อชุมชนแห่งนั้นว่า "ปากอ่าง" เมื่อถึงวันโกนจะปรากฎแสงสีทองออกมาจากอ่างทำให้ชาวบ้านเรียกชุมชนนั้นว่า “อ่างทอง” จึงเป็นที่มาของชื่อ "ตำบลอ่างทอง" จนถึงปัจจุบัน |
|
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลอ่างทอง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ของอำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร มีสถานที่ตั้งของที่ทำการอยู่ที่ หมู่ที่ 1 บ้านปากอ่าง ตำบลอ่างทอง ทางหลวงหมายเลข 1 ถนนพลโยธิน หลักกิโลเมตรที่ 443 - 444 มีเนื้อที่ประมาณ 206.20 ต.ร.กม. อยู่ห่างจากอำเภอเมืองกำแพงเพชร ประมาณ 12 กิโลเมตร และห่างจากศูนย์ราชการจังหวัดประมาณ 23 กิโลเมตร |
|
|
|


 |
|
  |
|
|
  |
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ต.คลองแม่ลาย
ต.เทพนคร |
อ.เมืองกำแพงเพชร
อ.เมืองกำแพงเพชร |
จ.กำแพงเพชร
จ.กำแพงเพชร |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ต.คลองลาน
ต.หินชะโงก |
อ.คลองลาน
อ.ปางศิลาทอง |
จ.กำแพงเพชร
จ.กำแพงเพชร |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ต.ไตรตรึงษ์
ต.คลองสมบูรณ์ |
อ.เมืองกำแพงเพชร
อ.คลองขลุง |
จ.กำแพงเพชร
จ.กำแพงเพชร |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ต.คลองลาน
ต.วังทอง
ต.คลองแม่ลาย |
อ.คลองลาน
อ.เมืองกำแพงเพชร
อ.เมืองกำแพงเพชร |
จ.กำแพงเพชร
จ.กำแพงเพชร
จ.กำแพงเพชร |
|
|
|
    |
|


 |
|


 |
|
|
|
|
สภาพพื้นที่โดยทั่วไป เป็นที่ราบสลับเนินเขาเตี้ย ทอดเป็นแนวยาวจากทิศตะวันตก ไปสู่ทิศตะวันออก มีคลองธรรมชาติไหลผ่าน พื้นที่ส่วนใหญ่ประมาณ 80% เหมาะแก่การทำไร่ ทำสวน ปลูกพืชเศรษฐกิจ และเลี้ยงสัตว์ ส่วนพื้นที่อีก 20% เหมาะแก่การทำนา |
|
|
|
|
|
ลักษณะอากาศของตำบลคลองขลุงโดยทั่วไป มีสภาพอากาศที่อบอุ่นตลอดปี อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีประมาณ 27.3 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด เฉลี่ย 33.4 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 22.5 องศาเซลเซียส เดือนที่มีอากาศร้อนอบอ้าวที่สุด คือเดือนเมษายน สำหรับเดือนที่หนาวที่สุด คือเดือนธันวาคม และมีฝนตกเฉลี่ยประมาณ 123 วัน ช่วงที่มีฝนตกจะอยู่ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึงตุลาคม ทำให้เกิดฤดูกาล 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝนและฤดูหนาว |
|
|
|
|
|
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม และบางรายประกอบอาชีพเลี้ยงปลา เลี้ยงวัว เลี้ยงกบ และไก่ ร่วมด้วย |
|
|
|
  |
|
|
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 15,127 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 7,648 คน |
คิดเป็นร้อยละ 50.56 |

 |
หญิง จำนวน 7,479 คน |
คิดเป็นร้อยละ 49.44 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 5,164 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 73.40 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
  |
|
 |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
1 |
|
บ้านปากอ่าง |
124 |
123 |
247 |
147 |
|
 |
2 |
|
บ้านท่าเสากระโดง |
640 |
624 |
1,264 |
577 |
 |
|
3 |
|
บ้านปากอ่างใน |
207 |
234 |
441 |
152 |
|
 |
4 |
|
บ้านทุ่งตาพุก |
456 |
429 |
885 |
323 |
 |
|
5 |
|
บ้านวังตะเคียน |
662 |
654 |
1,316 |
449 |
|
 |
6 |
|
บ้านหนองยายเภา |
300 |
311 |
611 |
213 |
 |
|
7 |
|
บ้านสันติสุข |
239 |
218 |
457 |
181 |
|
 |
8 |
|
บ้านคลองดู่ |
291 |
264 |
555 |
186 |
 |
|
9 |
|
บ้านหนองใหญ่ |
634 |
648 |
1,282 |
459 |
|
 |
10 |
|
บ้านหนองยาว |
240 |
261 |
501 |
176 |
 |
|
11 |
|
บ้านหนองขาม |
583 |
582 |
1,165 |
353 |
|
 |
12 |
|
บ้านดาดทองเจริญ |
321 |
294 |
615 |
225 |
 |
|
13 |
|
บ้านบ่อกลางดง |
314 |
207 |
521 |
169 |
|
 |
14 |
|
บ้านทุ่งรวงทอง |
442 |
426 |
868 |
259 |
 |
|
15 |
|
บ้านมอสำราญ |
441 |
425 |
866 |
281 |
|
 |
16 |
|
บ้านอ่างหิน |
107 |
115 |
222 |
104 |
 |
|
17 |
|
บ้านจอมแขวน |
206 |
228 |
434 |
80 |
|
 |
18 |
|
บ้านวังตะเคียนเหนือ |
438 |
441 |
879 |
276 |
 |
|
19 |
|
บ้านวังตะเคียนใต้ |
321 |
323 |
644 |
165 |
|
 |
20 |
|
บ้านดาดเหนือ |
367 |
348 |
715 |
190 |
 |
|
21 |
|
บ้านทรัพย์ท่าเสา |
315 |
324 |
639 |
199 |
|
 |
|
|
รวม |
7,648 |
7,479 |
15,127 |
5,164 |
 |
|
|
|